ภาพพจน์
1. อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง
ใชคําเชื่อมเหลานี้ “เหมือน
ราว ราวกับ เปรียบ ดุจ ประดุจ ดัง ดั่ง เฉก เชน เพียง เพี้ยง ประหนึ่ง ถนัด กล
เลห ปมวา ปาน ครุวนา ปูน พาง
ละมาย แมน” เชน
ชีวิตเหมือนเรือนอยลองลอยอยู่
ตองตอสูแรงลมประสมคลื่น
2. อุปลักษณ์ คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง
มีอยู่ 2 คํา “คือ” “เปน”
เชน เธอคือนางฟาในใจ
น้ำตาเป็นสายเลือด เป็นอุปลักษณ์หรือไม่ ?
ไม่เป็นเพราะ
ไม่ได้เปรียบน้ำตาเหมือนสายเลือด แต่เน้นย้ำเชิงปริมาณว่าร้องไห้จนใจจะขาด
3. สัทพจน์ เป็นการเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เปรี้ยง ๆ
ดังเสียงฟ้าฟาด
4. สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน
ไม่เรียกตรงๆ
ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความ
ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป เช่น
สีขาว แทนความ
บริสุทธิ์
หงส์ แทน
คนชั้นสูง
กา แทน
คนต่ำต้อย
5. นามนัย จะเป็นการเปรียบเทียบโดยการดึงเอาลักษณะเด่นออกมา เช่น
เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี
มือที่สาม
หมายถึง ผู้ก่อความเดือดร้อน
6. บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือ
ให้สิ่งไม่มีชีวิตทำเหมือนสิ่งมีชีวิต เช่น
มองซิ..มองทะเล
เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน
บางครั้งมันบ้าบิ่น กระแทกหินดังครืนครืน
ทะเลไม่เคยหลับไหล ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น
บางครั้งยังสะอื้น
ทะเลมันตื่นอยู่ร่ำไป
7. อติพจน์ คือ โวหารที่กล่าวเกินความจริง เช่น
คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก
ร้อนตับจะแตก
แต่ในกรณีที่ใช้โวหารต่ำกว่าจริงเรียกว่า "อวพจน์" เช่น
เล็กเท่าขี้ตาแมว
รอสักอึดใจเดียว
8. ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมาอยู่ด้วยกัน
เช่น
น้ำร้อนปลาเป็น น้ำเย็นปลาตาย
จักรวาลวุ่นวายไร้สำเนียง
9. อุปมานิทัศน คือ การเปรียบเทียบโดยยกเรื่องราวหรือนิทานมาประกอบ
เช่น
โคลงโลกนิติบทที่วาดวย หนูทารบราชสีห์ แสดงใหเห็นวา
คนโงหรือคนพาลที่ดอยทั้ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น